วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

10.การแก้สมการกำลังสองตัวแปร

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ใจความสำคัญของเรื่องนี้ อยู่ที่การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งในการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวนั้น ไม่ยากครับ   แต่ต้องฝึกทำบ่อยๆ ทำโจทย์เยอะๆครับ  ซึ่งการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวเพื่อหาคำตอบของสมการนั้น มีหลายวิธีครับ อย่างเช่น การแทนค่าตัวเลขต่างๆลงในตัวแปรแล้วดูว่าสมการเป็นจริงไหม ถ้าเป็นจริงแสดงว่าตัวเลขที่เราแทนลงเป็นเป็นคำตอบสมการกำลังสอง อ่านต่อ http://www.mathpaper.net
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ .การแก้สมการกำลังสองตัวแปร

9.การเเยกตัวประกอบของพหุนาม

 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
                     ในรูป  ax2 + bx + c  เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนเต็ม และ  c  =  0
                     ในกรณีที่  c = 0  พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป  ax2+ bx  สามารถใช้สมบัติการแจกแจง  
            แยกตัวประกอบได้ อ่านต่อ https://sites.google.com
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การแยกตัวประกอบของพหุนาม

8.การเท่ากันในระบบจำนวน

การเท่ากันในระบบจำนวน

กำหนด a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
     1. สมบัติการสะท้อน a = a
     2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a
     3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c
     4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน  ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c
     5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc อ่านต่อ 
https://sites.google.com
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเท่ากันในระบบจำนวน

7จำนวนจริง

1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, - √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265...        
อ่านต่อhttp://vichakarn.triamudom.ac.th
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จำนวนจริง

6.การให้เหตุผลแบบนิรนัย

 การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนด อ่านต่อ https://sites.google.com
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบนิรนัย

5.การให้เหตุผลแบบอุปนัย

 การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย อ่านต่อ https://sites.google.com 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบอุปนัย

4.ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

ยูเนียน (Union)

ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B
ตัวอย่างเช่น
A ={1,2,3}
B= {3,4,5}
∴ A ∪ B = {1,2,3,4,5} อ่านต่อ http://www.tewfree.com
union

10.การแก้สมการกำลังสองตัวแปร

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ใจความสำคัญของเรื่องนี้ อยู่ที่การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว ซึ่งในการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวนั้น ไม่ยากครับ  ...